- ท่านเว่ยหล่างรับผ้า
สืบทอด สังฆปรินายกรุ่นที่6 ระหว่างเดินทางลงใต้ สู่วัดธรรมยาน มาดูว่าท่านรอดชีวิตมาได้อย ่างไร - ฝากติดตามชมกันน้า..
- มนุษย์ที่เกิดมาในโลกนี้ล้ว
นแต่มีต้นกำเนิดมาจากที่เดี ยวกัน ทรงความศักดิ์สิทธิ์เสมอกัน เพราะมี "ธรรมญาณ" เป็นเช่นเดียวกัน - แต่ที่มนุษย์แตกต่างกันก็เพ
ราะ บาปเวรกรรม สร้างมาไม่เหมือนกัน ความผิดแผกกันตรงนี้จึงไม่ส มควรแบ่งแยกมนุษย์ให้ต่ำสูง ไม่เท่ากัน - มนุษย์มักเอาสิ่งที่มองเห็นมาเปรียบ
เทียบแบ่งแยกซึ่งกันและกัน และดูถูกดูแคลนกัน จนเกิดปัญหาความไม่เข้าใจกั น และสร้างเวรกรรมต่อกันไม่ม ีที่สิ้นสุด - อาการติดยึดในรูปลักษณ์ทั้ง
ปวง จึงทำให้มนุษย์มีกังวลแล ะเป็นทุกข์ เมื่อรูปนั้นพังท ลายลงไป ในโลกนี้จึงไม่มีใครสามารถร ักษารูปลักษณ์ให้เป็นอมตะได ้เลย - ด้วยเหตุความหลงเช่นนี้ จึงทำให้การวินิจฉัยปัญหาทั
้งมวลผิดพลาดไปได้โดยง่าย เมื่อพระธรรมาจารย์ฮุ่ยเหนิ งประกาศจักละทิ้งกายสังขาร - ท่านฝ่าไห่ ซึ่งเป็นศิษย์อาวุโสจึงเรีย
นถามว่า "เมื่อพระคุณท่านเข้าปรินิพ พาานแล้ว ใครจะเป็นผู้ได้รับมอบบาตร จีวร และ ธรรมต่อไป" - "สำหรับคำสอนของฉันทั้งหมด นับแต่ได้กล่าวเทศนาในวัดต้
าฝัน ตราบจนบัดนี้ จงคัดลอกเป็นเล่มแล้วแจกจ่า ยกันไปก็ได้ แต่ให้ชื่อว่า สูตรอันประกาศบนมหาบัลลังก์ แห่งธรรมรถ - เพื่อช่วยเหลือสัตว์ทั้งปวง
บุคคลที่สั่งสอนตามคำสอนนี้ เป็นผู้สั่งสอนตามธรรมแท้ พอแล้วสำหรับธรรม ส่วนการรับช่วงจีวรนั้น ถือเป็นการสิ้นสุดกัน - เพราะเ
หตุใดหรืือ เพราะว่าท่านทั้งหลายต่างก็ ศรัทธาต่อคำสอนของฉันโดยพร้ อมมูล ทั้งท่านก็ปราศจากความเคลือ บแคลงสงสัยใด ๆ แล้ว - ท่านสามารถสืบต่อจุดประสงค์
อันสูงส่งของสำนักเราให่ลุล ่วงไปได้ นอกจากนั้น ตามความหมายในโศลกของท่านโพ ธิธรรม - พระธรรมาจารย์องค์แรกผู้ถ่า
ยทอดพระธรรมและบาตร จีวร ท่านก็ไม่ประสงค์จะมอบให้แก ่ใครต่อไปอีก โศลกนั้นคือ " จุดประสงค์ในการมาดินแดนนี้ ก็เพื่อถ่ายทอดพระธรรม สำหรับปลดปล่อยสัตว์ที่ถูกค รอบงำไว้ด้วยความหลงผิด เมื่อมีกลีบครบห้ากลีบ ดอกไม้นั้นก็สมบูรณ์ หลังจากนั้น ผลจะปรากฏขึ้นเองตามธรรมชาต ิ " - ความหมายแห่งคำกล่าวของพระธ
รรมาจารย์ฮุ่ยเหนิง เกี่ยวกั บการส่งมอบตำแหน่งพระธรรมาจ ารย์สมัยต่อไป เป็นเรื่องที่น่าพิจารณาเป็ นอย่างยิ่ง - นับแต่พระมหากัสสปะ ซึ่งเป็นพระธรรมาจารย์สมัยท
ี่หนึ่งของอินเดีย มาจนถึงพระธรรมาจารย์ฮุ่ยเห นิง การส่งมอบตำแหน่งพระธรรมาจา รย์อาศัยจีวรและบาตร เป็นเครื่องหมายแห่งตำแหน่ง และฐานะผู้แบกรับพระโองการส วรรค์อันชัดเจน เพื่อสืบต่อเ ป็นพงศาธรรม การสืบต่อ ยังคงรักษาพงศาธรรมเอาไว้ไม ่ขาดสาย - แต่นับจากพระธรรมาจารย์ฮุ่ย
เหนิงแล้ว ดอกไม้ก็สมบูรณ์บานครบห้ากล ีบ ผลย่อมปรากฏเอง ความหมายก็คือ การสืบต่อพระโองการสวรรค์ย่ อมแสดงได้ด้วยการบำเพ็ญปฏิบ ัติ - โดยอาศัยผลแห่งการปฏิบัตินั
้นเป็นจริงขึ้นมาเอง ผู้ได้รับมอบหมายสืบต่อพงศา ธรรม เมื่อมีพระโองการอยู่กับตัว การปฏิบัติบำเพ็ญ ย่อมปรากฏผลชัดเจนโดยใช้ผลง านเป็นเครื่องพิสูจน์ มิใช่บาตรและจีวรดังแต่ก่อน - พระธรรมาจารย์ฮุ่ยเหนิงกล่า
วต่อไปว่า "ท่านผู้คงแก่เรียนทั้งหลาย จงชำระจิตของท่านให้ บริสุทธิ์และฟังฉันพูด ใครที่ปรารถนาจะบรรลุปัญญาข องพุทธะ ซึ่งรู้ไปในทุก ๆ สิ่ง - เขาก็ควรรู้จัก สมาธิเฉพาะวัตถุประสงค์และส
มาธิ เฉพาะแบบในทุกกรณี เราควรเปลื้องตนออกเสียจากค วามผูกพันธ์ในวัตถุทั้งหลาย และวางท่าทีต่อสิ่งเหล่านั้ นให้เป็นกลาง - ไม่ยินดียินร้าย อย่าปล่อยให้ชัยชนะหรือความ
ปราชัย และการได้มา หรือการสูญเสีย ก่อความกังวลแก่เราได้ จงสงบและเยือกเย็น จงสุภาพและอารีอารอบ จงซื่อตรงและเที่ยงธรรม - สิ่งเหล่านั้นคือ สมาธิเฉพาะวัตถุประสงค์ในทุ
ก ๆ โอกาสไม่ว่าเราจะ ยืน เดิน นั่ง หรือนอน จงเป็นคนตรงแน่ว เราก็จะดำรงอยู่ในสถานที่อั นศักดิ์สิทธิ์ และไม่ต้องเคลื่อนไหวแม้สัก น้อย - เราก็เหมือนอยู่ในอาณาจักรแ
ห่งดินแดนบริสุทธิ์ สิ่งเหล่านี้คือ สมาธิเฉพาะแบบ ผุ้ปฏิบัติตามสมาธิทั้งสองอ ย่างนี้ได้ครบถ้วนแล้ว ก็เสมือนกับเนื้อนาที่ได้หว ่านเมล็ดพืชลงไป แล้วกลบไว้ด้วยโคลน เมล็ดพืชจึงได้รับการบำรุงแ ละเจริญเติบโต ตราบจนกระทั่งผลิผล" - ความหมายแห่งคำกล่าวนี้ ชี้ให้เห็นความเป็นจริงอย่า
งหนึ่งว่า การสดับพระธรรมหรือคำพูดทุก อย่าง หากภายในใจของเรายังติดอยู่ กับสิ่งใด - คำพูดมิอาจฝ่าฟันไปสู่ความเ
ข้าใจของเขาได้เลย เสมือนหนึ่งน้ำเต็มแก้ว ย่อมเติมลงไปมิได้ฉันใดก็ฉั นนั้น - พระธรรมาจารย์ฮุ่ยเหนิงกล่า
วว่า "คำสอนของฉันในขณะนี้ ไม่ผิดอะไรกับฝนตกตามฤดูกาล ซึ่งจะนำความชุ่มชื้นมาสู่ผ ืนแผ่นดินอันกว้างใหญ่ธรรมช าติแห่งพุทธะ ซึ่งมีอยู่ภายใน เสมือนหนึ่งกับเมล็ดพืชที่ไ ด้รับความชุ่มชื้นจากสายฝน ย่อมจะเติบโตขึ้นอย่างรวดเร ็ว ใครที่ปฏิบัติตามคำสอนของฉั น ย่อมได้บรรลุถึงโพธิอย่างแน ่นอน ใครที่ดำเนินตามคำสอนของฉัน ย่อมได้รับผลอันสูงเลิศเป็น แน่แท้ จงฟังโศลกดังนี้ " - " เมล็ดพืชแห่งพุทธะ แฝงอยู่ในจิตของเราย่อมงอกง
ามตามสายฝน ที่ซึมซาบไปในทุกสิ่ง ดอกไม้แห่งหลักธรรม เมื่อได้ผลิออกมาด้วยปัญญาญ าณ ผู้นั้นย่อมแน่แท้ ที่จะเก็บเกี่ยวผลแห่งการตร ัสรู้" - " มนุษย์ทุกคนจึงมีภาวะแห่ง พุทธะ คือผู้รู้อยู่แล้วในตัวเอง ไม่มีใครมีมากหรือน้อยกว่าก
ัน แต่เหตุที่ไม่อาจบรรลุธรรมเ ท่าเทียมกันเป็นเพราะวิบากก รรมปิดบังปัญญาญาณของตนเองจ นมือมิด แต่เมื่อใดที่เขาได้ใช้ปัญญ าของตนเองแล้ว ย่อมเข้าสู่หนทางแห่งการรู้ ตัวเองอย่างแท้จริง " - "คำว่า ตรัสรู้ หมายความว่าอย่างไร" "ปุจฉา
" "แปลว่า รู้เองไม่ต้องมีใครมาสั่งสอ น" - "วิสัชนา " "คำตอบอย่างนี้ใคร ๆ ก็ตอบได้ ไม่เห็นเข้าใจเลย"
- "อย่างนั้น ถ้าเอาคำว่า พุทธะ มารวมกันเข้าก้อาจเข้าใจได้
มากขึ้น เพราะคำนี้มีความหมายว่า ผู้รู้ มิได้หมายความรู้อะไรข้างนอ กตัวเองเลย - แต่รู้ทุกข์รู้สุข รู้ความเคลื่อนไหวในจิตของต
นเอง สรุปอย่างสั้นและง่ายก็คือ รู้กิเลสตนเอง นั่นเอง รู้แล้วสามารถชำระ และตัดมัน ออกไปได้โดยเด็ดขาด อย่างนี้จึงเรียกว่า ตรัสรู้ - กรณีเช่นนี้ไม่มีใครช่วยเรา
ได้เลย นอกจากตัวเองทั้งนั้น รู้เองแก้เอง " - "ใคร ๆ ก็ทำได้อย่างนั้นหรือ" " ถาม " "แน่นอน เพราะทุกคนมีภาวะ พุทธะ ในตัวเองอยู่แล้ว" "ตอบ
วันพฤหัสบดีที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2558
เหว่ยหล่าง 7
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น