วันพฤหัสบดีที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2558
เหว่ยหล่าง 10
- ท่านเว่ยหล่าง(ฝากชมตอนท่าน
บอกลาและมรณะภาพท่าสมาธิ สะรีระยังคงอยู่เท่าทุกวันน ี้) - ในขณะที่สังฆปริณายกองค์ที่
๕ กำลังเผยแผ่ศาสนาอยู่... - มีเด็กหนุ่มกำพร้าคนหนึ่งชื
่อ "เว่ยหล่าง" มีอาชีพตัดฟืนขายเลี้ยงมารด าผู้ชรา - ที่ตำบลชุนเชา มณฑลกวางตุ้ง ภาคใต้ของจีน.. เว่ยหล่างได้ยินอุบาสกคนหนึ
่ง - สวดวัชรปรารมิตาสูตร หรือที่ภาษาจีนเรียกว่า "กิมปังปัวเยียปอล่อมิกเก็ง
" - พอได้ยินเท่านั้น ก็เกิดขนลุกชูชัน เกิดศรัทธาอยากจะศึกษาธรรมะ
เหลือเกิน - แต่ติดขัดที่ไม่มีใครดูแลมา
รดา จึงรออยู่พักหนึ่ง จนในที่สุดมีผู้ให้เงิน ๑๐ ตำลึง - เพื่อมอบให้มารดาใช้สอยขณะเ
ขาไม่อยู่ เว่ยหล่างจึงเดินทางไปเมือง วองมุย - ใช้เวลาเดินทางถึง ๑ เดือน พอไปถึงก็เข้าไปนมัสการพระส
ังฆปริณายก - ขอเรียนธรรมะด้วย
- "เธอมาจากไหน" ท่านอาจารย์ถาม
- "มาจากปักษ์ใต้ครับ"
- "คนทางใต้เป็นคนป่าคนดง จะหวังเป็นพุทธะได้อย่างไร"
- "คนอาจจะมาจากภาคเหนือภาคใต
้ แต่พุทธภาวะไม่มีเหนือ - ไม่มีใต้ มิใช่หรือครับ" เด็กหนุ่มย้อน
- ท่านสังฆปริณายกรู้ทันทีว่า
เด็กหนุ่มบ้านอกคนนี้ ได้รู้สัจธรรม - ระดับหนึ่งแล้ว แต่เพื่อมิให้เป็นภัยแก่เขา
จึงแสร้งดุให้เขาเงียบเสียง - แล้วให้ไปช่วยทำงานในครัว
- วันหนึ่งท่านอาจารย์เรียกปร
ะชุมศิษย์ทั้งหมด ให้แต่ละคนเขียนโศลก - บรรยายธรรมคนละบท เพื่อทดสอบภูมิธรรม ชินเชา (ชินชิ่ว) หัวหน้าศิษย์
- เป็นผู้ที่ใคร ๆ ยกย่องว่าเป็นผู้เข้าใจธรรม
ะอย่างลึกซึ้งกว่าคนอื่น และมีหวัง - จะได้รับมอบบาตรและจีวรจากท
่านอาจารย์แน่ ๆ ได้แต่โศลกบทหนึ่ง - เขียนไว้ที่ผนังว่า
- "กาย คือต้นโพธิ์
- ใจ คือกระจกเงาใส
- จงหมั่นเช็ดถูเป็นนิตย์
- อย่าปล่อยให้ฝุ่นละอองจับ"
- ท่านอาจารย์อ่านโศลกของชินเ
ชาแล้ว ชมเชยต่อหน้าศิษย์ทั้งหลาย - ว่าเป็นผู้เข้าใจธรรมอย่างล
ึกซึ่ง (แต่ตอนกลางคืนเรียกเธอเข้า ไปพบตามลำพัง - บอกว่าชินเชา "ยังไม่ถึง" ให้พยายามต่อไป)
- เว่ยหล่างได้ฟังโศลกของหัวห
น้าศิษย์แล้ว มีความรู้สึกเป็นส่วนตัวว่า - ผู้แต่โศลกยังเข้าใจไม่ลึกซ
ึ้ง จึงแต่โศลกแก้ เสร็จแล้ววานให้เพื่อนช่วยเ ขียนให้ - เพราะเว่ยหล่างอ่านหนังสือไ
ม่ออกเขียนไม่ได้ โศลกบทนั้นมีความว่า - "เดิมที ไม่มีต้นโพธิ์
- ไม่มีกระจกเงาใส
- เมื่อทุกอย่างว่างเปล่าตั้ง
แต่ต้น - ฝุ่นละอองจะลงจับอะไร"
- ท่านอาจารย์รู้ทันทีว่า ผู้เขียนโศลกเป็นผู้เข้าถึง
สัจธรรมสูงสุดแล้ว - จึงถามใครเป็นคนแต่ง พอทราบว่าเว่ยหล่างเด็กบ้าน
นอกแต่ง จึงสั่งให้ลบทิ้ง - พร้อมดุด่าต่อหน้าศิษย์อื่น
ๆ ว่า หนังสือยังอ่านไม่ออกสะเออะ จะมาเขียนโศลก - แต่พอคล้อยหลังศิษย์อื่น ท่านอาจารย์เรียกเว่ยหล่างเ
ข้าพบมอบ - บาตรและจีวรให้ (มอบตำแหน่ง) แล้วสั่งให้รีบหนีไปกลางดึก
ศิษย์ในสำนัก - รู้ข่าว พากันออกตามล่าเอาบาตรและจี
วรคืน เดชะบุญหนีรอดไปได้ - เว่ยหล่างหลบซ่อนอยู่ในป่าเ
ป็นเวลา ๑๕ ปี ได้อุปสมบทเป็นภิกษุ - เมื่ออายุ ๓๕ ปี แล้วออกเผยแผ่ศาสนาจนกระทั่
งอายุ ๗๖ ปี ก็มรณภาพ - ท่านเว่ยหล่างไม่รู้หนังสือ
แต่สามารถเข้าถึงธรรมะได้เร ็วกว่า - คนที่เรียนแตกฉาน จากประสบการณ์นี้เอง ท่านจึงเชื่อมั่นว่า การศึกษา
- ธรรมะกับการบรรลุธรรมเป็นคน
ละเรื่องกัน นักศึกษาที่ "พลิกตำรา" - ทีละหน้าๆ ไม่นานอาจถูกตำรามัน "พลิก" เอาได้
- เทคนิกการสอนเซ็นของท่านเว่
ยหล่างจึงไม่เน้นตำรา ไม่ติดตำรา - แม้ระบบการถ่ายทอดเซ็นโดยกา
รมอบบาตรและจีวร ที่สืบทอดกันมาแต่ - โบราณกาล พอถึงยุคท่านเว่ยหล่าง ท่านยกเลิกหมด ท่านเห็นว่าการมอบ
- วัตถุให้แก่กัน ทำให้คนเบาปัญญา ไม่บรรลุธรรม คิดโลภอยากได้แล้วแย่งกัน
- ดังที่ท่านเคยประสบมาด้วยตั
วเอง การถ่ายทอดควรใช้วิธี "จากจิตสู่จิต" - มากกว่า ใครได้บรรลุธรรม ก็นับว่าเป็นสังฆปริณายกสืบ
ต่อศาสนาทุกคน - มีภาพที่รู้จักดีในหมู่ชาวพ
ุทธเซ็นภาพหนึ่ง เป็นภาพท่านเว่ยหล่าง - ฉีกคัมภีร์ทิ้งกระจุยกระจาย
แเสดงว่าการจะเข้าถึงสัจธรร ม ต้องทำลาย - ความยึดติดคัมภีร์เสียก่อน นับเป็นภาพที่ท้าทายเอาการท
ีเดียว - ศิษย์ของท่านคนหนึ่งชื่อ ลินซิ (รินไซ) ไปไกลยิ่งกว่านั้น
- คำพูดของท่าน ถ้าชาวพุทธไทยผู้เคร่งครัดไ
ด้ฟัง อาจสะดุ้งแปดกลับ - หาว่าคนพูดเช่นนนั้นไม่บ้าก
็เมา - ท่านพูดว่าไงนะหรือครับ
- "ถ้าคุณพบพระพุทธเจ้ากลางทา
ง จงฆ่าเสีย"
จาก พุทธศาสนาทัศนะและวิจารณ์
ของ ร.ศ.เสฐียรพงษ์ วรรณปก
หากชอบโปรดกดติดตามเพจนี้เพ
เหว่ยหล่าง 9
- ท่านเว่ยหล่าง (#โปรดฟังบุญต่างกันกับกุศลท
ี่แท้จริงอย่างไร) - พระปัญญาเภสัช (ตี้เอ๊ยะซาจั๋ง) ได้นำต้นศรีมหาโพธิ์ จากอินเดียมาปลูกไว้เมืองจี
น. แล้วเข้าฌานดูรู้ว่าอีก 170 ปี จักมี “พระโพธิสัตว์” มาบรรลุธรรม ณ ตรงจุดนี้ ท่านจึงได้สร้างวัดไว้ก่อน (ผู้สร้างวัดท่านเว่ยหล่าง) สมัยพระเจ้าเหลียงบู๊ตี่.
- วัดธรรมญาณ ที่รอผู้มาโปรด โดยสลักที่ก้อนหินไว้ นานกว่า170ปีมาแล้ว
- ก็คือรอท่านเว่ยหล่างนั่นเอ
ง ซึ่งสลักไว้ดังนี้. - "อีกหนึ่งร้อยเจ็ดสิบปีภายภ
าคหน้า จะมีพระโพธิสัตว์ดำรงกายเนื ้ออยู่ - มาโปรดแสดงพระสัทธรรมมหายาน
ณ ที่นี้ จะกอบกู้อุ้มเวไนยฯได้ไม่ปร ะมาณ เป็นธรรมราชาผู้ถ่ายทอดพุทธ ธรรม ถ่ายทอดวิถีจิตจากพระพุทธะโ ดยแท้ - ท่านเว่ยหล่างบวชแล้ว เทศนาว่า เรื่องการทำกุศลดังนี้..
- สมัยก่อนพระอาจารย์ทวดตักม้
อ มหาสังฆปรินายก รับนิมนต์จากองค์ฮ้องเต้ - กระทั่ง ณ วันที่ ๒๑ ค่ำเดือนเก้า สมัยราชวงศ์เหลียงบู๊ตี้ประ
มาณปีพุทธศักราช ๑๐๗๐ ท่านจึงมาถึงยังฝั่งเมืองกว างโจว - ขณะนั้น พระเจ้าเหลียงบู้ตี๊ พระองค์ทรงเลื่อมใสศรัทธาพุ
ทธศาสนามาก ทรงถือศีลกินเจอยู่เป็นประจ ำ เมื่อข่าวการมาถึงของพระอาจ ารย์ตั๊กม๊อถูกรายงานไปยังร าชสำนัก พระเจ้าเหลียงบู๊ตี้ทรงปิติ ยินดี ยิ่งจึงได้มีพระกระแสรับสั่ งให้อาราธนาเข้าเฝ้าทันที - ในปีนั้นเองพระอาจารย์ตั๊กม
๊อได้รับนิมนต์จากพระเจ้าเห ลียงบู๊ตี้ ไปยังนานกิงนครหลวงเพื่อถกป ัญหาธรรม - พระเจ้าเหลียงบู๊ตี้ ได้ตรัสถามพระอาจารย์ตั๊กม๊
อว่า - "ตั้งแต่ข้าพเจ้าครองราชย์ม
า ได้สร้างวัดวาอาราม โบสถ์วิหาร และพระคัมภีร์มากมาย อีกทั้งอนุญาตให้ผู้คนได้บว ช โปรยทาน ถวายภัตตาหารเจแด่พระภิกษุส งฆ์ ตลอดจนทะนุบำรุงพระศาสนามาก มาย ไม่ทราบว่าจะได้รับกุศลมากน ้อยเพียงใด? " - พระอาจารย์ตั๊กม๊อ ตอบว่า
- "ที่มหาบพิตรบำเพ็ญมาทั้งหม
ด เป็นเพียงบุญกิริยาทางโลกเท ่านั้น ยังมิใช่กุศลแต่อย่างใด" - การที่ท่านตอบเช่นนั้น ก็เพราะพระเจ้าเหลียงบู๊ตี้
มีความเข้าพระทัยผิด ดั่งที่แม้ปัจจุบันผู้คนก็จ ะคิดว่า "บุญ" และ "กุศล"เป็นอย่างเดียวกัน จึงเรียกสับสนปนเปกันไป - แท้ที่จริง การให้ทานเงินทอง วัตถุสิ่งของ อาหาร หรือสร้างวัดวาอาราม ฯลฯ เรียกว่า "บุญ" หมายถึง ส่งที่ทำให้ฟูใจทำให้ใจมีปิ
ติอิ่มเอมเท่านั้น ส่วน "กุศล" หมายถึงสิ่งที่จะช่วยขจัดเค รื่องกางกั้น ช่วยให้จิตหลุดรอดไปจากสิ่ง ครอบคลุมห่อหุ้ม"พุทธะจิตธร รมญาณ" - ฉะนั้นกุศลที่แท้ คือ ความรู้แจ้งทางจิตใจคือปัญญ
าอันผ่องแผ้วสมบูรณ์ เป็นความว่าง สงบจากกิเลส - เวลานั้นพระเจ้าเหลี่ยงบู๊ต
ี้ ทรงตรัสถามอีกว่า - "อริยสัจ คืออะไร? "
- พระอาจารย์ตั๊กม๊อ ตอบว่า "ไม่มี"
- พระเจ้าเหลียงบู๊ตี้ ทรงตรัสถามอีกว่า
- "เบื้องหน้าข้าพเจ้านี้ คือใคร?"
- พระอาจารย์ตั๊กม๊อ ตอบว่า "ไม่รู้จัก"
- พระเจ้าเหลียงบู๊ตี้ ทรงได้ยินคำตอบเช่นนั้น ไม่ค่อยพอพระทัย
- พระอาจารย์ตั๊กม๊อ เห็นว่า พระเจ้าเหลียงบู๊ตี้ ทรงสั่ง
สมภูมิปัญญายังไม่แก่กล้าพอ ที่จะบรรลุได้ จึงทูลลาจากไป - เมื่อท่านเดินทางพ้นจากเมือ
งไปแล้ว พระธรรมาจารย์ปอจี่เชี้ยงซื อ คือ พระเถระผู้ทรงปราดเปรื่องรอ บรู้พระไตรปิฎกได้เข้าเฝ้าแ ล้วกราบทูลถามพระเจ้าเหลียง บู๊ตี้ว่า - "พระภิกษุอินเดียรูปนั้น ขณะนี้พำนักอยู่ที่ใด? "
- พระเจ้าเหลียงบู๊ตี้ ทรงตรัสว่า
- "จากไปแล้ว.....ท่านเป็นใคร
หรือ? " - พระธรรมจารย์ ปอจี่เซียงซือ กราบทูลว่า
- "ท่านคือ พระกวนอิมมหาโพธิสัตว์อวตาร
มาทีเดียว...ฝ่าพระบาทได้พบ ท่าน เหมือนไม่ได้พบ ได้เห็นท่าน แต่เหมือนไม่ได้เห็น" - พระเจ้าเหลียงบู๊ตี้ ทรงทราบเช่นนั้นจึงมีพระดำร
ิ จะให้ทหารออกติดตามไปอาราธน าท่านกลับมา ฝ่ายพระธรรมจารย์ปอจีเซียงซ ือ ได้กราบทูลต่อไปอีกว่า - "ไร้ประโยชน์...ถึงจะยกทัพไ
ปแสนนาย ท่านก็ไม่กลับมา" - ต่อมาท่านจึงนั่งหันหน้าเข้
าฝารอผู้สืบทอด นั่งนาน 9 ปี - จึงหันหน้าออกเพื่อรับผู้สื
บทอดพงศาธรรมรุ่นที่ 2 คือท่านฮุ่ยเขอ - ท่านฮุ่ยเขอขอสละชีวิต เพื่อพระธรรมแต่อาจารย์ทวดต
ักม้อ กล่าวว่า.. - ธรรมะเข้าถึงยากเ
จ้าจะสละได้หรือ บาปเกิดที่ใดดับที่นั่น จากนั้นท่านจึงตัดแขนถวาย ท่านตักม้อเห็นดังนั้นจึงรั บเป็นศิษย์ สืบทอดยาวนานได้ ห้ารุ่น รวมอาจารย์ตักม้อ ถึงท่านเว่ยหล่าง คือรุ่นที่หก นิกายนี้รุ่งเรื่องมากในยุค ของท่านเว่ยหล่าง พระสังฆปรินายกรุ่นที่ 6 - หากชอบโปรดกดติดตามเพจนี้เพ
ื่อชมวีดีโอถัดไป...
เหว่ยหล่าง 8
ท่านเว่ยหล่างตอนที่ 8
- ท่านเว่ยหล่าง ตอนนี้รู้สึกว่าชมแล้วจะขนลุกมากที่สุด ไม่เชื่อลองฟังนะ..
- คนตำข้าวได้เป็นผู้สืบทอดพงศาธรรม
- พักรักษาตัวกับนายพรานระหว่างการเดินทาง
- หลังจากท่านปล่อยเสือที่ถูกดักได้ จึงผิดกฎนายพราน จึงถูกแขวนรอความตายบนต้นไม้
- เมื่อครบ 3 คืน ท่านไม่ตายจึงกลับมาที่พัก มาเจอฝูงโจรเข้าปล้นที่พักพอดี
- ทางคณะนายพรานเกรงว่าจะถูกฆ่า ท่านเว่ยหล่าง จึงกล่าวพร้อมชูผ้าพระไตรปฎิกว่า.. "อำนาจพุทธคุณช่วยด้วย" (ตอนนี้ขนลุกทุกรอบเมื่อดู)
- จากนั้น จึงเกิดลมพัด และแสงผ้ากระทบแสงอาทิตย์บังเกิดแสงจ้า กลุ่มโจรจึงถอยหนีกระเจิงไป แล้วพรานคนที่ พยายามฆ่าท่านมาหลายครั้ง
- จึงกล่าวว่า "ทำไมต้องมาช่วยข้า ทำไมต้องช่วยข้าด้วย". ท่านเว่ยหล่างตอบคนที่จะฆ่าท่านตั้งหลายครั้งว่า. "เพราะว่าเจ้าคือเพื่อนรักของข้า" แล้วท่านจึงเดินจากไป พร้อมๆ ความอึ้งของนายพรานว่า ท่านเว่ยหล่างคือพระ
- ท่านนั้นจากไปมุ่งลงใต้เพื่อสู่วัดธรรมญาณ เพื่อออกบวชสืบทอดสังฆปรินายกรุ่นที่ 6
- แม้แต่คนพยายามฆ่าผู้มีธรรมในใจของท่าน ยังมีเมตตาต่อคนเหล่านั้นว่าเพื่อนรักของข้า..
- จากนั้นเมื่องถึงจุดหมายคนรอต้อนรับมากมาย
- ท่านเห็นหลวงจีนเถียงกันว่า. ลมโบกธงไหว หรือธงโบกลมไหว ท่านเว่ยหล่างจึงบอกว่า " ใจท่านต่างหากที่ไหว"
- ตอนนี่ถึงที่วัดนัดพบแล้วชื่อวัดธรรมญาณ ที่รอผู้มาโปรดที่นี้ โดยสลักที่ก้อนหินไว้ นานกว่า 170 ปีมาแล้ว ก็คือรอท่านเว่ยหล่างนั่นเอง ซึ่งสลักไว้ดังนี้.
- "อีกหนึ่งร้อยเจ็ดสิบปีภายภาคหน้า จะมีพระโพธิสัตว์ดำรงกายเนื้ออยู่ มาโปรดแสดงพระสัทธรรมมหายาน ณ ที่นี้ จะกอบกู้อุ้มเวไนยฯ ได้ไม่ประมาณ เป็นธรรมราชาผู้ถ่ายทอดพุทธธรรม ถ่ายทอดวิถีจิตจากพระพุทธะโดยแท้"
- หากชอบโปรดกดติดตามเพจนี้ชมวีดีโอถัดไป อามีทอฝอ
เหว่ยหล่าง 7
- ท่านเว่ยหล่างรับผ้า
สืบทอด สังฆปรินายกรุ่นที่6 ระหว่างเดินทางลงใต้ สู่วัดธรรมยาน มาดูว่าท่านรอดชีวิตมาได้อย ่างไร - ฝากติดตามชมกันน้า..
- มนุษย์ที่เกิดมาในโลกนี้ล้ว
นแต่มีต้นกำเนิดมาจากที่เดี ยวกัน ทรงความศักดิ์สิทธิ์เสมอกัน เพราะมี "ธรรมญาณ" เป็นเช่นเดียวกัน - แต่ที่มนุษย์แตกต่างกันก็เพ
ราะ บาปเวรกรรม สร้างมาไม่เหมือนกัน ความผิดแผกกันตรงนี้จึงไม่ส มควรแบ่งแยกมนุษย์ให้ต่ำสูง ไม่เท่ากัน - มนุษย์มักเอาสิ่งที่มองเห็นมาเปรียบ
เทียบแบ่งแยกซึ่งกันและกัน และดูถูกดูแคลนกัน จนเกิดปัญหาความไม่เข้าใจกั น และสร้างเวรกรรมต่อกันไม่ม ีที่สิ้นสุด - อาการติดยึดในรูปลักษณ์ทั้ง
ปวง จึงทำให้มนุษย์มีกังวลแล ะเป็นทุกข์ เมื่อรูปนั้นพังท ลายลงไป ในโลกนี้จึงไม่มีใครสามารถร ักษารูปลักษณ์ให้เป็นอมตะได ้เลย - ด้วยเหตุความหลงเช่นนี้ จึงทำให้การวินิจฉัยปัญหาทั
้งมวลผิดพลาดไปได้โดยง่าย เมื่อพระธรรมาจารย์ฮุ่ยเหนิ งประกาศจักละทิ้งกายสังขาร - ท่านฝ่าไห่ ซึ่งเป็นศิษย์อาวุโสจึงเรีย
นถามว่า "เมื่อพระคุณท่านเข้าปรินิพ พาานแล้ว ใครจะเป็นผู้ได้รับมอบบาตร จีวร และ ธรรมต่อไป" - "สำหรับคำสอนของฉันทั้งหมด นับแต่ได้กล่าวเทศนาในวัดต้
าฝัน ตราบจนบัดนี้ จงคัดลอกเป็นเล่มแล้วแจกจ่า ยกันไปก็ได้ แต่ให้ชื่อว่า สูตรอันประกาศบนมหาบัลลังก์ แห่งธรรมรถ - เพื่อช่วยเหลือสัตว์ทั้งปวง
บุคคลที่สั่งสอนตามคำสอนนี้ เป็นผู้สั่งสอนตามธรรมแท้ พอแล้วสำหรับธรรม ส่วนการรับช่วงจีวรนั้น ถือเป็นการสิ้นสุดกัน - เพราะเ
หตุใดหรืือ เพราะว่าท่านทั้งหลายต่างก็ ศรัทธาต่อคำสอนของฉันโดยพร้ อมมูล ทั้งท่านก็ปราศจากความเคลือ บแคลงสงสัยใด ๆ แล้ว - ท่านสามารถสืบต่อจุดประสงค์
อันสูงส่งของสำนักเราให่ลุล ่วงไปได้ นอกจากนั้น ตามความหมายในโศลกของท่านโพ ธิธรรม - พระธรรมาจารย์องค์แรกผู้ถ่า
ยทอดพระธรรมและบาตร จีวร ท่านก็ไม่ประสงค์จะมอบให้แก ่ใครต่อไปอีก โศลกนั้นคือ " จุดประสงค์ในการมาดินแดนนี้ ก็เพื่อถ่ายทอดพระธรรม สำหรับปลดปล่อยสัตว์ที่ถูกค รอบงำไว้ด้วยความหลงผิด เมื่อมีกลีบครบห้ากลีบ ดอกไม้นั้นก็สมบูรณ์ หลังจากนั้น ผลจะปรากฏขึ้นเองตามธรรมชาต ิ " - ความหมายแห่งคำกล่าวของพระธ
รรมาจารย์ฮุ่ยเหนิง เกี่ยวกั บการส่งมอบตำแหน่งพระธรรมาจ ารย์สมัยต่อไป เป็นเรื่องที่น่าพิจารณาเป็ นอย่างยิ่ง - นับแต่พระมหากัสสปะ ซึ่งเป็นพระธรรมาจารย์สมัยท
ี่หนึ่งของอินเดีย มาจนถึงพระธรรมาจารย์ฮุ่ยเห นิง การส่งมอบตำแหน่งพระธรรมาจา รย์อาศัยจีวรและบาตร เป็นเครื่องหมายแห่งตำแหน่ง และฐานะผู้แบกรับพระโองการส วรรค์อันชัดเจน เพื่อสืบต่อเ ป็นพงศาธรรม การสืบต่อ ยังคงรักษาพงศาธรรมเอาไว้ไม ่ขาดสาย - แต่นับจากพระธรรมาจารย์ฮุ่ย
เหนิงแล้ว ดอกไม้ก็สมบูรณ์บานครบห้ากล ีบ ผลย่อมปรากฏเอง ความหมายก็คือ การสืบต่อพระโองการสวรรค์ย่ อมแสดงได้ด้วยการบำเพ็ญปฏิบ ัติ - โดยอาศัยผลแห่งการปฏิบัตินั
้นเป็นจริงขึ้นมาเอง ผู้ได้รับมอบหมายสืบต่อพงศา ธรรม เมื่อมีพระโองการอยู่กับตัว การปฏิบัติบำเพ็ญ ย่อมปรากฏผลชัดเจนโดยใช้ผลง านเป็นเครื่องพิสูจน์ มิใช่บาตรและจีวรดังแต่ก่อน - พระธรรมาจารย์ฮุ่ยเหนิงกล่า
วต่อไปว่า "ท่านผู้คงแก่เรียนทั้งหลาย จงชำระจิตของท่านให้ บริสุทธิ์และฟังฉันพูด ใครที่ปรารถนาจะบรรลุปัญญาข องพุทธะ ซึ่งรู้ไปในทุก ๆ สิ่ง - เขาก็ควรรู้จัก สมาธิเฉพาะวัตถุประสงค์และส
มาธิ เฉพาะแบบในทุกกรณี เราควรเปลื้องตนออกเสียจากค วามผูกพันธ์ในวัตถุทั้งหลาย และวางท่าทีต่อสิ่งเหล่านั้ นให้เป็นกลาง - ไม่ยินดียินร้าย อย่าปล่อยให้ชัยชนะหรือความ
ปราชัย และการได้มา หรือการสูญเสีย ก่อความกังวลแก่เราได้ จงสงบและเยือกเย็น จงสุภาพและอารีอารอบ จงซื่อตรงและเที่ยงธรรม - สิ่งเหล่านั้นคือ สมาธิเฉพาะวัตถุประสงค์ในทุ
ก ๆ โอกาสไม่ว่าเราจะ ยืน เดิน นั่ง หรือนอน จงเป็นคนตรงแน่ว เราก็จะดำรงอยู่ในสถานที่อั นศักดิ์สิทธิ์ และไม่ต้องเคลื่อนไหวแม้สัก น้อย - เราก็เหมือนอยู่ในอาณาจักรแ
ห่งดินแดนบริสุทธิ์ สิ่งเหล่านี้คือ สมาธิเฉพาะแบบ ผุ้ปฏิบัติตามสมาธิทั้งสองอ ย่างนี้ได้ครบถ้วนแล้ว ก็เสมือนกับเนื้อนาที่ได้หว ่านเมล็ดพืชลงไป แล้วกลบไว้ด้วยโคลน เมล็ดพืชจึงได้รับการบำรุงแ ละเจริญเติบโต ตราบจนกระทั่งผลิผล" - ความหมายแห่งคำกล่าวนี้ ชี้ให้เห็นความเป็นจริงอย่า
งหนึ่งว่า การสดับพระธรรมหรือคำพูดทุก อย่าง หากภายในใจของเรายังติดอยู่ กับสิ่งใด - คำพูดมิอาจฝ่าฟันไปสู่ความเ
ข้าใจของเขาได้เลย เสมือนหนึ่งน้ำเต็มแก้ว ย่อมเติมลงไปมิได้ฉันใดก็ฉั นนั้น - พระธรรมาจารย์ฮุ่ยเหนิงกล่า
วว่า "คำสอนของฉันในขณะนี้ ไม่ผิดอะไรกับฝนตกตามฤดูกาล ซึ่งจะนำความชุ่มชื้นมาสู่ผ ืนแผ่นดินอันกว้างใหญ่ธรรมช าติแห่งพุทธะ ซึ่งมีอยู่ภายใน เสมือนหนึ่งกับเมล็ดพืชที่ไ ด้รับความชุ่มชื้นจากสายฝน ย่อมจะเติบโตขึ้นอย่างรวดเร ็ว ใครที่ปฏิบัติตามคำสอนของฉั น ย่อมได้บรรลุถึงโพธิอย่างแน ่นอน ใครที่ดำเนินตามคำสอนของฉัน ย่อมได้รับผลอันสูงเลิศเป็น แน่แท้ จงฟังโศลกดังนี้ " - " เมล็ดพืชแห่งพุทธะ แฝงอยู่ในจิตของเราย่อมงอกง
ามตามสายฝน ที่ซึมซาบไปในทุกสิ่ง ดอกไม้แห่งหลักธรรม เมื่อได้ผลิออกมาด้วยปัญญาญ าณ ผู้นั้นย่อมแน่แท้ ที่จะเก็บเกี่ยวผลแห่งการตร ัสรู้" - " มนุษย์ทุกคนจึงมีภาวะแห่ง พุทธะ คือผู้รู้อยู่แล้วในตัวเอง ไม่มีใครมีมากหรือน้อยกว่าก
ัน แต่เหตุที่ไม่อาจบรรลุธรรมเ ท่าเทียมกันเป็นเพราะวิบากก รรมปิดบังปัญญาญาณของตนเองจ นมือมิด แต่เมื่อใดที่เขาได้ใช้ปัญญ าของตนเองแล้ว ย่อมเข้าสู่หนทางแห่งการรู้ ตัวเองอย่างแท้จริง " - "คำว่า ตรัสรู้ หมายความว่าอย่างไร" "ปุจฉา
" "แปลว่า รู้เองไม่ต้องมีใครมาสั่งสอ น" - "วิสัชนา " "คำตอบอย่างนี้ใคร ๆ ก็ตอบได้ ไม่เห็นเข้าใจเลย"
- "อย่างนั้น ถ้าเอาคำว่า พุทธะ มารวมกันเข้าก้อาจเข้าใจได้
มากขึ้น เพราะคำนี้มีความหมายว่า ผู้รู้ มิได้หมายความรู้อะไรข้างนอ กตัวเองเลย - แต่รู้ทุกข์รู้สุข รู้ความเคลื่อนไหวในจิตของต
นเอง สรุปอย่างสั้นและง่ายก็คือ รู้กิเลสตนเอง นั่นเอง รู้แล้วสามารถชำระ และตัดมัน ออกไปได้โดยเด็ดขาด อย่างนี้จึงเรียกว่า ตรัสรู้ - กรณีเช่นนี้ไม่มีใครช่วยเรา
ได้เลย นอกจากตัวเองทั้งนั้น รู้เองแก้เอง " - "ใคร ๆ ก็ทำได้อย่างนั้นหรือ" " ถาม " "แน่นอน เพราะทุกคนมีภาวะ พุทธะ ในตัวเองอยู่แล้ว" "ตอบ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)